Tuesday, June 23, 2009
Owls are masked นกเค้าแมวพราง
Sunday, June 21, 2009
Cassini Nears Four-year Mark
สี่ปีของยานคาสสินี-ผลงานสำรวจดาวเสาร์
Teacher Phaitoon Yaemprasuan
Occupation and Technology Group
from http://www.boston.com/bigpicture/2008/05
/cassini_nears_fouryear_mark.html
Teacher Phaitoon Yaemprasuan
Occupation and Technology Group
from http://www.boston.com/bigpicture/2008/05
/cassini_nears_fouryear_mark.html
NASA's Cassini Spacecraft is now reaching the end of its four-year prime mission (on June 30th), and about to enter into its extended mission. What a nice excuse for a retrospective of some of the great images sent back home by Cassini over the past four years.
ยานอวกาศคาสสินี ขององค์การนาซา (บริหารการบินและอวกาศแห่งชาติอเมริกา) เดินทางใกล้ถึงจุดสิ้นสุดพันธกิจ 4 ปี่ แล้ว (พ.ศ.2551) และนี่คือตัวอย่างผลงานการสำรวจอวกาศ
ยานอวกาศคาสสินี ขององค์การนาซา (บริหารการบินและอวกาศแห่งชาติอเมริกา) เดินทางใกล้ถึงจุดสิ้นสุดพันธกิจ 4 ปี่ แล้ว (พ.ศ.2551) และนี่คือตัวอย่างผลงานการสำรวจอวกาศ
The Sun is on the opposite side, so all of Saturn is backlit. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ดวงอาทิตย์อยู่คนละด้านกัน ภาพดาวเสาร์ที่ยานคาสสินีถ่ายได้ก็เลยมือดแบบนี้
ดวงอาทิตย์อยู่คนละด้านกัน ภาพดาวเสาร์ที่ยานคาสสินีถ่ายได้ก็เลยมือดแบบนี้
Swirls in Saturn's cloud-tops. Courtesy NASA/JPL-Caltech
พายุหมุน ที่เมฆในชันสูงสุดของดาวเสาร์
พายุหมุน ที่เมฆในชันสูงสุดของดาวเสาร์
The surface of Saturn's moon Dione, up close. Courtesy NASA/JPL-Caltech
พื้นผิวของดวางจันทร์บริวารของดาวเสาร์ ที่ชื่อดวงจันทร์ ดิโอเน
พื้นผิวของดวางจันทร์บริวารของดาวเสาร์ ที่ชื่อดวงจันทร์ ดิโอเน
Tiny moon Janus, seen before Saturn's rings, with massive moon Titan beyond. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ดวงจันทร์จิ๋วที่ชื่อ แจนัส เห็นได้ตรงวงแหวนของดาวเสาร์ ขณะที่ดวงจันทร์ขนาดใหญ่ของดาวเสาร์ที่ชื่อ ไททัน อยู่ห่างออกไป
ดวงจันทร์จิ๋วที่ชื่อ แจนัส เห็นได้ตรงวงแหวนของดาวเสาร์ ขณะที่ดวงจันทร์ขนาดใหญ่ของดาวเสาร์ที่ชื่อ ไททัน อยู่ห่างออกไป
Saturn's moon Rhea, with Izanagi Crater at center. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ดวงจันทร์ของดาวเสาร์อีกดวง ชื่อ เรีย
ดวงจันทร์ของดาวเสาร์อีกดวง ชื่อ เรีย
Saturn's horizon seen through its thin rings. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ขอบฟ้าของดาวเสาร์ เมื่อมองผ่านวงแหวนบางๆ รอบตัวมัน
ขอบฟ้าของดาวเสาร์ เมื่อมองผ่านวงแหวนบางๆ รอบตัวมัน
Small moon Mimas, seen against Saturn's horizon. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ไมมัส ดวงจันทร์ขนาดเล็กของดาวเสาร์ อยู่ตรงขอบฟ้าของดาวเสาร์
ไมมัส ดวงจันทร์ขนาดเล็กของดาวเสาร์ อยู่ตรงขอบฟ้าของดาวเสาร์
A "knot", or small disturbance in one of Saturn's outer rings. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ปม หรือผิวที่ไม่เรียบ ที่บริเวณวงแหวนรอบนอกของดาวเสาร์
ปม หรือผิวที่ไม่เรียบ ที่บริเวณวงแหวนรอบนอกของดาวเสาร์
Closeup of small, cratered moon Hyperion. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ผิวของดวงจันทร์ไฮเปอร์รอน ดวงจันทร์ขนาดเล็กอีกดวงของดาวเสาร์
ผิวของดวงจันทร์ไฮเปอร์รอน ดวงจันทร์ขนาดเล็กอีกดวงของดาวเสาร์
Saturn's moon Enceladus, seen just in front of Saturn. Courtesy NASA/JPL-Caltech
เอ็นซีลาดัส ดวงจันทร์อีกดวงของดาวเสาร์ (ที่อยู่เบื้องหลัง )
เอ็นซีลาดัส ดวงจันทร์อีกดวงของดาวเสาร์ (ที่อยู่เบื้องหลัง )
Saturn's polar region. Courtesy NASA/JPL-Caltech
บริเวณขั้วโลกของดาวเสาร์
บริเวณขั้วโลกของดาวเสาร์
Mimas closeup, with rings in background. Courtesy NASA/JPL-Caltech
ดวงจันทร์ไมมัส ที่ลอยอยู่หน้าวงแหวนของดาวเสาร์
ดวงจันทร์ไมมัส ที่ลอยอยู่หน้าวงแหวนของดาวเสาร์
Wednesday, June 10, 2009
Cyclone Aila
June 3, 2009
Cyclone Aila
Cyclone Aila began as a disturbance on May 21 in the Bay of Bengal, strengthening quickly to a Tropical Cyclone with windspeeds gusting up to 120 km/h (75 mph). Aila made landfall soon after, bringing heavy rains, wind, and an enormous storm surge of seawater that pushed inland, damaging or destroying hundreds of thousands of homes in Bangladesh, India and Myanmar. Over 300 people are confirmed to have died, with more than 8,000 still missing. Surviving residents are now receiving aid, mourning the lost, beginning to rebuild - and some are leveling criticism at their own governments, asking why stronger storm defenses were not in place. According to the Associated Press, some 2.3 million people were affected by Aila. (29 photos total)
The Moderate Resolution Imaging Spectroradiometer (MODIS) on NASA's Terra satellite captured this true-color image of Aila on May 25, 2009, the same day that the storm temporarily strengthened to a Category 1 cyclone. Aila almost completely fills this scene, stretching from the Bay of Bengal deep into India, Bangladesh, and Myanmar. (NASA/Jeff Schmaltz, MODIS Rapid Response Team) #
Subscribe to:
Posts (Atom)